แบบรายงานการประเมินโรงพยาบาลที่จัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พิมพ์
เขียนโดย Administrator   
วันพุธที่ 16 กรกฏาคม 2014 เวลา 14:41 น.

ข้อมูลทั่วไป

1.       โรงพยาบาล……ท่าอุเทน…… เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด  30   เตียง    สังกัด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม

ที่ตั้ง    23/23……หมู่ 6 ตำบลโนนตาล….อำเภอmjkv6gmo .จังหวัด นครพนม

โทรศัพท์โรงพยาบาล......042 581255-6  .......แฟกซ์.....042 581593  

ชื่อผู้อำนวยการโรงพยาบาล นายแพทย์จักรภพ ธนาธนัยภัทร

ชื่อแพทย์ผู้รับผิดชอบ YFHS  นายแพทย์จักรภพ ธนาธนัยภัทร

ชื่อผู้ประสานงาน..นางสาวตรีชฎา ศรีชัยมูล.. โทรศัพท์ผู้ประสานงาน.089-8613843

          Emailผู้ประสานงาน.. อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปก่อน

2.       พันธกิจของโรงพยาบาลคือโรงพยาบาลท่าอุเทน เป็นโรงพยาบาลชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการให้บริการในระดับปฐมภูมิ และทุติภูมิ ดังนี้

1.      .ให้บริการแบบองค์รวมทั้งรักษาส่งเสริมป้องกันและฟื้นฟูสุขภาพ

2.      พัฒนาระบบบริการสุขภาพและสถานบริการเครือข่ายได้มาตรฐาน

3.      พัฒนาระบบบริหารจัดการและงานบุคคลากรให้มีประสิทธิภาพตรวจสอบได้

วิสัยทัศน์ของโรงพยาบาลคือ    โรงพยาบาลที่มีคุณภาพ ผู้รับบริการประทับใจ

3.       จำนวนประชากรวัยรุ่นและเยาวชนในความรับผิดชอบ ……1669…..คน

4.       มีบุคลกรโรงพยาบาลรวมทั้งหมด............131.............คน        

4.1    แพทย์....................................3............   คน

4.2    ทันตแพทย์............................2.............คน

4.3    เภสัชกร..................................4.............คน

4.4    พยาบาลวิชาชีพ.......47...........คน

4.5    นักกายภาพ…………1………….....คน

4.6   พยาบาลเทคนิค .....1..............คน

4.7   เจ้าพนักงานสาธารณสุข..2.....คน

4.8    เจ้าหน้าที่อื่นๆ.......................27.........คน

5.       เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการคลินิกวัยรุ่น…………4…….….คน

 

     7.  คลินิกวัยรุ่น อยู่ในความรับผิดชอบ/ตั้งอยู่ที่กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการด้านปฐมภูมิ

     8.   เวลาการเปิดให้บริการคลินิกวัยรุ่น. บริการทุกบ่ายวัน ศุกร์  ด้านบริการปรึกษาทุกวัน

 


     9.สรุปผลการดำเนินงาน

   9.1 สถานการณ์ปัญหาสุขภาพวัยรุ่นและเยาวชนในพื้นที่รับผิดชอบ

 2.สถานการณ์การเข้าถึงบริการด้านการวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิด ถุงยาง      อนามัย ในกลุ่ม วัยรุ่น อัตราการเข้าถึงน้อย

             1.สถานการณ์อนามัยและเด็ก ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมากขึ้น

             3.ไม่มีช่องทางการให้บริการในกลุ่มวัยรุ่น นักเรียน นักศึกษา เป็นสัดส่วน

             4.พบปัญหาด้านยาเสพติด ในสถานศึกษา ในเขตอำเภอท่าอุเทนเพิ่มมากขึ้น

             5.ขาดผู้รับผิดชอบชัดเจน ในการดูแล ประสานงานทั้งใน รพ. และ รร.

          9.2  แนวทางการดำเนินงาน

          กำหนดนโยบายด้านบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่น

1.กำหนดนโยบายด้านการบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน ในระดับ รพ.

2.มอบหมายผู้รับผิดชอบและทีมบริการที่เป็นมิตรใน รพ 

3.จัดตั้งคลินิกบริการในโรงพยาบาลที่เป็นสัดส่วน การเข้าถึงง่าย หลายช่องทาง

4.สนับสนุนด้านงบประมาณและวัสดุครุภัณฑ์ ในการจัดบริการ

5.สนับสนุน ติดตามการดำเนินงานและแก้ไขปัญหาช่วยเหลือ

 

          9.3 ผลการดำเนินงาน

          ด้านผลผลิต 

1.       มีคลินิกบริการคลินิกวัยรุ่น 1 แห่งในโรงพยาบาลระดับชุมชน และมีระดับ รพสต  17 แห่งในการให้บริการในเขต รพสต

2.       มีคลินิกวัยรุ่นในโรงเรียน จำนวน  1 แห่ง ในโรงเรียนอุเทนพัฒนา

3.       มีแกนนำนักเรียนที่ผ่านการอบรมและมีความสามารถให้คำปรึกษาเพื่อได้จำนวน  30 คนในโรงเรียนนำร่อง โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

4.       มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในระบบโรงเรียนที่มีคุณภาพ เข้าถึงบริการสะดวก ส่งต่อ และติดตามอย่างมีประสิทธิภาพ

        ด้านผลลัพธ์

         

-          อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นหลังจากดำเนินโครงการคลินิกวัยรุ่น จากจำนวนหญิงตั้งครรภ์ อายุ น้อยกว่า 20 ปี ในปี 2556

-          มีกลุ่มวัยรุ่นเข้ามารับบริการเพิ่มขึ้นหลังดำเนินโครงการคลินิกวัยรุ่น

-          จากผลการดำเนินโครงการพัฒนาคลินิกวัยรุ่น มีการค้นพบโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์หนองในนักเรียนชายในโรงเรียนแห่งหนึ่งที่มารับบริการ

-           

9.4ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะ

- การเข้าถึงบริการในคลินิกน้อย ไม่กล้า เป็นแกนนำที่พามารับบริการ เน้นออกไปให้บริการในโรงเรียนและ ประชาสัมพันธ์ เน้นทางบริการ

-  การประชาสัมพันธ์ ไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เน้น วิทยาลัยการอาชีพ มากขึ้นเพราะเป็นวัยรุ่นและมีสถาการณ์ ด้านปัจจัยเสี่ยงสูง

- ทักษะ ความรู้วิชาการในการดูแลเด็กและวัยรุ่น ในทีมดูแลรักษา

- การเขื่อมกับโรงเรียนในเขตรับผิดชอบยังน้อย ในปีต่อไปเน้นขยายและเข้าไปประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนทุกแห่ง

-การสนับสนุนด้านงบประมาณในพื้นที่น้อย   เสนอให้เป็นบัญญัติของ อปท ทุกแห่งโดยผ่านนายอำเภอเพื่อเสนอของบในการดำเนินการในระดับอำเภอ 

 

บรรยากาศภาพกิจกรรมคลินิคเพื่อนใจวัยรุ่นคลิกที่นี้ 

แก้ไขล่าสุด ( วันพุธที่ 16 กรกฏาคม 2014 เวลา 16:10 น. )